-
ย่านชุมชนบ้านโป่ง มีการใช้พื้นที่เมืองในการสร้างพื้นที่ศิลปะสาธารณะในย่านชุมชน ก่อให้เกิดสุนทรียทางศิลปะ และการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว ในรูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในชุมชนย่านบ้านโป่ง
-
บ้านท่าไม้ทอง หมู่บ้านที่แยกออกมาจากบ้านนาตะกรุด ตั้งอยู่เลียบริมแม่น้ำป่าสัก วิถีชีวิตและอาชีพอยู่ในภาคเกษตรกรรม
-
วัดคีรีวัน ชาวไทยเชื้อสายลาวเวียง (ไทยเวียง) หัตถกรรมจักสาน เครื่องจักสานไม้ไผ่ตกแต่งผ้าขาวม้า และอาหารพื้นถิ่น
-
สายธารของแม่น้ำสายใหญ่ที่แยกออกมาเป็นแควแม่น้ำป่าสัก จึงเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ นามว่า "บ้านแควป่าสัก"
-
ชุมชนโบราณในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา มีร่องรอยของความเป็นเมืองท่าและยังคงสืบทอดการทำเครื่องปั้นดินเผาแบบโบราณ
-
ชุมชนเก่าแก่ในอดีตท่ามกลางสังคมเมืองขนาดใหญ่ และพระอารามหลวงคู่เมืองสงขลา ศูนย์รวมศรัทธานานนับร้อยปี
-
หมู่บ้านวัฒนธรรมบ้านเข็กน้อย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กับวิถีชีวิตและมรดกภูมิปัญญาอันล้ำค่าสู่การพัฒนาและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมศักยภาพและฐานรากด้านเศรษฐกิจของสมาชิกในชุมชน
-
ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้