-
กระบวนการชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มีหาดทรายทุ่งนุ้ย ป่าชายเลน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ของท้องถิ่น
-
ชุมชนชาวปกาเกอะญอในตำบลห้วยสัตว์ใหญ่ 1 ใน 11 หมู่บ้าน แหล่งปลูกทุเรียนป่าละอู พืชเศรษฐกิจ GI สายพันธุ์พระราชทาน
-
จากความตระหนักรู้และเห็นคุณค่าของภูมิปัญญา สู่การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สินค้าที่เป็นเอกลักษณ์จากบรรพบุรุษ อันเป็นแนวทางการสร้างเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน
-
บ้านท่าไม้ทอง หมู่บ้านที่แยกออกมาจากบ้านนาตะกรุด ตั้งอยู่เลียบริมแม่น้ำป่าสัก วิถีชีวิตและอาชีพอยู่ในภาคเกษตรกรรม
-
สายธารของแม่น้ำสายใหญ่ที่แยกออกมาเป็นแควแม่น้ำป่าสัก จึงเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ นามว่า "บ้านแควป่าสัก"
-
หมู่บ้านวัฒนธรรมบ้านเข็กน้อย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กับวิถีชีวิตและมรดกภูมิปัญญาอันล้ำค่าสู่การพัฒนาและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมศักยภาพและฐานรากด้านเศรษฐกิจของสมาชิกในชุมชน
-
ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้
-
สัมผัสกับวิถีชีวิตชาวไทพวนดั้งเดิมที่อนุรักษ์ไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็นและเรียนรู้ เช่น สารทพวน ประเพณีกำฟ้า รวมถึงด้านศิลปะการแสดง การฟ้อนไทพวน และ "ขนมคาบหมู" ขนมที่ไม่ที่ไหนเหมือน
-
มีการรวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น มีความเป็นปึกแผ่นของกลุ่มวัฒนธรรมมอญมากว่า 160 ปี นับถือศาสนาพุทธอย่างเคร่งครัดและมีใจในประเพณีความเชื่อและวิถีชีวิตที่มีอัตลักษณ์เฉพาะของกลุ่ม