ชุมชนแนะนำ
ดูทั้งหมด >>
หลวงพรต-ท่านเลี่ยม
กรุงเทพมหานครชุมชนเก่าริมคลองอายุกว่า 100 ปี ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมชาวมอญและจีน ภายในชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้ และสถานที่เก่าแก่ที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์เอาไว้อีกด้วย

ตลาดน้อย
กรุงเทพมหานครความโดดเด่นด้านงานฝีมือและงานช่าง แสดงถึงองค์ความรู้วัฒนธรรมชาวจีนที่ได้ส่งต่อมายังรุ่นต่อรุ่น เช่น การหล่อพระ การทำรองเท้า การทำหมอน การทำขนมโบราณ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปตามเทศกาล เช่น การแสดงงิ้ว การทำอาหารเจ ฯลฯ

บ้านเมืองบัว
ร้อยเอ็ดชุมชนโบราณในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายหรือยุคโลหะตอนปลาย มีโบราณสถานในวัฒนธรรมเขมร(กู่เมืองบัว) สิมหรืออุโบสถในวัฒนธรรมลาว มีความเชื่อเรื่องผีที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชนและข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้
บ้านแม่หมีใน
ลำปางบ้านแม่หมีใน ชนกลุ่มปกาเกอญอเผ่าสะกอ อพยพมาจากบ้านเมืองคอน อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งถิ่นฐานมานานกว่า 175 ปี เป็นไปเพื่อแสวงหาที่ทำกินใหม่โดยเข้ามาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราบสูงที่ราบหุบเขาริมห้วยแม่หมี
บ้านรักไทย
แม่ฮ่องสอนหมู่บ้านรักไทย ได้นำเอาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวจีนยูนนานมานำเสนอ ปรับเปลี่ยนรูปแบบชุมชน ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม
บ้านนาตะกรุด
เพชรบูรณ์วัดโพธิ์ทอง เป็นทั้งศาสนสถานและสถานที่ท่องเที่ยว สามารถแวะเที่ยวชมกำแพงประตูศิลปะขอม และเข้าสักการะหลวงพ่อหินเขียว ที่จะจัดให้มีพิธีสำคัญฉลองในวันวิสาขบูชาของทุก ๆ ปี
เกาะปันหยี
พังงาบ้านกลางน้ำ ที่ตั้งเรียงรายอยู่กลางอ่าวพังงา ด้านหน้าของผาหินปูน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกที่รอต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้มาเยี่ยมเยือน
ตลาดร้อยปีสามชุก
สุพรรณบุรีชุมชนตลาดร้อยปีสามชุก เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจสำคัญของอำเภอสามชุก และแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับประเทศ
ข้อมูลชุมชนล่าสุด
ดูทั้งหมด >>ประเภทชุมชน
ดูทั้งหมด >>"หมู่บ้านพัฒนา ประปาน้ำใส กราบไหว้พระครูจันทร์ สวรรค์บึงพาด คลึงราชเมืองเก่า เชื้อสายลาวเวียงจันทน์"
ชุมชนมอญใจกลางเมืองเชียงใหม่ ที่ยังคงรักษาและสืบทอดประเพณีพิธีกรรมของกลุ่มเม็งหรือมอญ
ชุมชนเล็ก ๆ บนดอยสกาด หนึ่งในจุดหมายปลายทางของเหล่านักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือนอำเภอปัว พักผ่อนนอนโฮมสเตย์บรรยากาศอบอุ่นเรียบง่ายตามวิถีชุมชน
ชุมชนแบ่งตามภูมิภาค
ดูทั้งหมด >>นั่งหลังช้างชมธรรมชาติ สัมผัสบรรยากาศหมู่บ้านกลางหุบเขา ยลวิถีอัตลักษณ์ปกาเกอะญอที่บ้านทิโพจิ
ป่าไม้สมบูรณ์ เป็นแหล่งหาเห็ดโคน มีวัดบ่อเก่าบน เป็นแหล่งรวมศรัทธา และประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา วัดสงบร่มรื่นด้วยต้นไม้ มีศาลากลางน้ำและโบสถ์ที่สวยงาม
เมืองหน้าด่านของนครหลวงลำปางที่มีเรื่องราวการต่อสู้ของชุมชน กลายเป็นชื่อของเมืองแห่งนี้
บ้านน้ำแคะ ชุมชนชาวลัวะที่ตั้งอยู่อย่างสันโดษบนภูเขาสูง หมู่บ้านที่ยังคงรักษา อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยมดั้งเดิมของเหล่าบรรพชนชาวลัวะเป็นพื้นฐานและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิต
1. ใจกลางชุมชนกะเหรี่ยงโปว์บ้านคลองเคียนมีต้นตะเคียนขนาดใหญ่อายุกว่า 100 ปี ตั้งโดดเด่นสง่าอยู่ใจกลางหมู่บ้าน เป็นเสมือนศูนย์รวมความเชื่อและจิตวิญญาณของผู้คนในชุมชน 2. ในชุมชนบ้านคลองเคียนแห่งนี้ มีลำห้วยคลองเคียนที่ไหลผ่านชุมชน เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงผู้คนในชุมชน เป็นแหล่งรวมอารยธรรมชุมชนกะเหรี่ยงโปว์บ้านคลองเคียน บริเวณลำห้วยคลองเคียนมีต้นยางน่อง ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ชาวบ้านนำมาทำยาพิษในการล่าสัตว์ 3. มีลำห้วยคอกควายไหลผ่านชุมชนกะเหรี่ยงโปว์บ้านคลองเคียน ซึ่งเป็นลำห้วยที่มีขนาดใหญ่กว่าลำห้วยคลองเคียน มีปริมาณน้ำที่ไหลเวียนมากกว่าและงดงามกว่าลำห้วยคลองเคียน เป็นศูนย์รวมกิจกรรมทางการเกษตร เป็นแหล่งน้ำอุปโภคบริโภคหลักของคนในชุมชน 4. ชุมชนกะเหรี่ยงโปว์บ้านคลองเคียนแห่งนี้ อยู่ลึกและห่างจากถนนสายหลัก สายบ้านไร่ – ลานสัก ระยะทางร่วม 10 กิโลเมตร ชุมชนแห่งนี้จึงรักษาวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงโปว์แบบดั้งเดิมเอาไว้ได้ค่อนข้างดี
หน้าหมู่บ้านละหว้าใหม่คอกควายมีถนนทางหลวงชนบทที่ตัดผ่าน ซึ่งฝั่งที่อยู่ตรงกันข้ามกับหมู่บ้าน เป็นอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ชื่อ “อ่างเก็บน้ำห้วยขุนแก้ว” สร้างขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในการบริโภค การเกษตร ประมงและการท่องเที่ยว มีความสวยงามและมีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในชุมชนหน้าหมู่บ้านมีศาลเจ้าเก่า ๆ ซึ่งบรรพบุรุษชาวละว้าได้สร้างไว้ ตามความเชื่อโบราณประเพณี เป็นที่เคารพสักการะและเป็นสถานที่ประกอบพิธีทำบุญกลางบ้านของชุมชนวัดแก้วศักดา เป็นที่พึ่งทางจิตใจของชาวละว้า คนในชุมชนไปทำบุญทุกวันธรรมสวนะ
แม่แดดน้อย ชุมชนปกาเกอะญอที่ยืนหยัดหาทางสู้ สร้างทางรอดกับระบบเศรษฐกิจครอบครัวจนเกิดการรวมตัวกลุ่มสตรีด้อยโอกาสก่อตั้งวิสาหกิจชุมชนบ้านแม่แดดน้อยและร่วมกับหมู่บ้านจาก 3 ตำบลในอำเภอกัลยาณิวัฒนา พัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สินค้าจากภูมิปัญญา เชื่อมโยงสายใยแห่งจิตวิญญาณภายใต้ชื่อแบรนด์ "เดปอถู่" แบรนด์สินค้าที่เป็นมากกว่าแค่ผลิตภัณฑ์ หากแต่เป็นตัวแทนเรื่องราวชีวิตของสตรีผู้ด้อยโอกาสชาวปกาเกอะญอ
กลุ่มผู้คนที่มาตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่บนเกาะเพื่อประกอบอาชีพประมง จนกลายเป็นชุมชนบนพื้นที่ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ และการรวมกลุ่มผลักดันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชน