ชุมชนแนะนำ
ดูทั้งหมด >>
หลวงพรต-ท่านเลี่ยม
กรุงเทพมหานครชุมชนเก่าริมคลองอายุกว่า 100 ปี ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมชาวมอญและจีน ภายในชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้ และสถานที่เก่าแก่ที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์เอาไว้อีกด้วย

ตลาดน้อย
กรุงเทพมหานครความโดดเด่นด้านงานฝีมือและงานช่าง แสดงถึงองค์ความรู้วัฒนธรรมชาวจีนที่ได้ส่งต่อมายังรุ่นต่อรุ่น เช่น การหล่อพระ การทำรองเท้า การทำหมอน การทำขนมโบราณ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปตามเทศกาล เช่น การแสดงงิ้ว การทำอาหารเจ ฯลฯ

บ้านเมืองบัว
ร้อยเอ็ดชุมชนโบราณในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายหรือยุคโลหะตอนปลาย มีโบราณสถานในวัฒนธรรมเขมร(กู่เมืองบัว) สิมหรืออุโบสถในวัฒนธรรมลาว มีความเชื่อเรื่องผีที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชนและข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้
บ้านแม่หมีใน
ลำปางบ้านแม่หมีใน ชนกลุ่มปกาเกอญอเผ่าสะกอ อพยพมาจากบ้านเมืองคอน อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งถิ่นฐานมานานกว่า 175 ปี เป็นไปเพื่อแสวงหาที่ทำกินใหม่โดยเข้ามาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราบสูงที่ราบหุบเขาริมห้วยแม่หมี
บ้านรักไทย
แม่ฮ่องสอนหมู่บ้านรักไทย ได้นำเอาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวจีนยูนนานมานำเสนอ ปรับเปลี่ยนรูปแบบชุมชน ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม
บ้านนาตะกรุด
เพชรบูรณ์วัดโพธิ์ทอง เป็นทั้งศาสนสถานและสถานที่ท่องเที่ยว สามารถแวะเที่ยวชมกำแพงประตูศิลปะขอม และเข้าสักการะหลวงพ่อหินเขียว ที่จะจัดให้มีพิธีสำคัญฉลองในวันวิสาขบูชาของทุก ๆ ปี
เกาะปันหยี
พังงาบ้านกลางน้ำ ที่ตั้งเรียงรายอยู่กลางอ่าวพังงา ด้านหน้าของผาหินปูน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกที่รอต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้มาเยี่ยมเยือน
ตลาดร้อยปีสามชุก
สุพรรณบุรีชุมชนตลาดร้อยปีสามชุก เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจสำคัญของอำเภอสามชุก และแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับประเทศ
ข้อมูลชุมชนล่าสุด
ดูทั้งหมด >>ประเภทชุมชน
ดูทั้งหมด >>ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้
สุเหร่าผดุงธรรมอิสลามเป็น “สุเหร่า” แห่งแรกของแขกเจ้าเซ็นในพื้นที่วัฒนธรรมสามกะดี-สี่สุเหร่า
ชุมชนเก่าริมคลองอายุกว่า 100 ปี ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมชาวมอญและจีน ภายในชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้ และสถานที่เก่าแก่ที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์เอาไว้อีกด้วย
น้ำเกี๋ยน เป็นชุมชนเก่าแก่ มีอายุราว 190 ปี มีลำห้วยน้ำเกี๋ยนไหลผ่าน เสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนมานานความเป็นอยู่ของผู้คนที่นี่ยังคงพึ่งพาอาศัยกัน เป็นสังคมเครือญาติ แม้จะแยกออกเป็น 5 หมู่บ้าน ด้วยความเป็นเครือญาติ ความสัมพันธ์คนตำบลน้ำเกี๋ยน จึงยึดโยงกันอย่างเหนียวแน่น ก่อให้เกิดความร่วมมือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
กุฎีหลวง เป็นศาสนาสถานแห่งแรกของแขกเจ้าเซ็น ที่มีบทบาทในการสร้างชุมชนแขกเจ้าเซ็นให้มีความมีความเป็นปึกแผ่น นับแต่ได้รับพระราชทานที่ดินสร้างศาสนสถาน ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการตั้งชุมชนแขกเจ้าเซ็นในเวลานั้นสืบต่อมาอีกกว่า 150 ปี
มัสยิดดิลฟัลลาห์ หรือกุฎีนอก หรือกุฎีปลายนา กะดีแห่งสุดท้ายของแขกเจ้าเซ็น เนื่องจากเป็นกะดีแห่งสุดท้ายที่เกิดขึ้นในสังคมธนบุรี ปัจจุบันตั้งอยู่บนแนวถนนอิสรภาพ ฝังธนบุรี เช่นเดียวกับกะดีอื่นในพื้นที่ชุมชนไทยชีอะห์อิชนาอะชะรี (สามกะดี-สี่สุเหร่า)
ชุมชนแบ่งตามภูมิภาค
ดูทั้งหมด >>ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้
สุเหร่าผดุงธรรมอิสลามเป็น “สุเหร่า” แห่งแรกของแขกเจ้าเซ็นในพื้นที่วัฒนธรรมสามกะดี-สี่สุเหร่า
ชุมชนเก่าริมคลองอายุกว่า 100 ปี ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมชาวมอญและจีน ภายในชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้ และสถานที่เก่าแก่ที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์เอาไว้อีกด้วย
น้ำเกี๋ยน เป็นชุมชนเก่าแก่ มีอายุราว 190 ปี มีลำห้วยน้ำเกี๋ยนไหลผ่าน เสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนมานานความเป็นอยู่ของผู้คนที่นี่ยังคงพึ่งพาอาศัยกัน เป็นสังคมเครือญาติ แม้จะแยกออกเป็น 5 หมู่บ้าน ด้วยความเป็นเครือญาติ ความสัมพันธ์คนตำบลน้ำเกี๋ยน จึงยึดโยงกันอย่างเหนียวแน่น ก่อให้เกิดความร่วมมือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
กุฎีหลวง เป็นศาสนาสถานแห่งแรกของแขกเจ้าเซ็น ที่มีบทบาทในการสร้างชุมชนแขกเจ้าเซ็นให้มีความมีความเป็นปึกแผ่น นับแต่ได้รับพระราชทานที่ดินสร้างศาสนสถาน ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการตั้งชุมชนแขกเจ้าเซ็นในเวลานั้นสืบต่อมาอีกกว่า 150 ปี
มัสยิดดิลฟัลลาห์ หรือกุฎีนอก หรือกุฎีปลายนา กะดีแห่งสุดท้ายของแขกเจ้าเซ็น เนื่องจากเป็นกะดีแห่งสุดท้ายที่เกิดขึ้นในสังคมธนบุรี ปัจจุบันตั้งอยู่บนแนวถนนอิสรภาพ ฝังธนบุรี เช่นเดียวกับกะดีอื่นในพื้นที่ชุมชนไทยชีอะห์อิชนาอะชะรี (สามกะดี-สี่สุเหร่า)