Advance search

เมืองเก่าสงขลา
ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้
บ่อยาง
เมืองสงขลา
สงขลา
ย่านเมืองเก่าสงขลา
12 ก.ย. 2024
ปวินนา เพ็ชรล้วน
11 ก.ย. 2024
Puripa Opao
9 ก.ย. 2024
ย่านเมืองเก่าสงขลา
เมืองเก่าสงขลา

มาจากในพื้นที่เป็นที่ตั้งศูนย์กลางของสงขลาทำให้เรียกว่า "ตัวเมือง" ประกอบกับพื้นที่นี้มีการตั้งถิ่นฐานมาอย่างยาวนานและมีสถาปัตยกรรมเก่ามากมายเลยเรียกว่า "เมืองเก่า" ส่วนคำว่าสงขลามาจากการเรียกเพี้ยนเสียงของคำว่า "ซิงกอร่า" และ "สิงขร" ที่ชาวต่างประเทศเรียก ซึ่งชาวไทยออกเสียงยากจึงเพี้ยนเป็น "สงขลา" เมื่อรวมคำกันจึงเรียกบริเวณนี้ว่า "เมืองเก่าสงขลา"

ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้
บ่อยาง
เมืองสงขลา
สงขลา
9000
7.19626514080671
100.590658038854
เทศบาลเมือง
พื้นที่ชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลา ตั้งอยู่ในบริเวณตำบลบ่อยาง จังหวัดสงขลา ซึ่งชุมชนนี้ถือเป็นชุมชนที่สำคัญอย่างมากเพราะเป็นชุมชนศูนย์กลางของเมืองสงขลาในปัจจุบัน โดยกล่าวได้ว่าก่อนที่พื้นที่นี้จะมีคนมาอาศัยอยู่เป็นจุดศูนย์กลางของเมืองสงขลา พบว่าผู้คนในอดีตได้มีจุดศูนย์กลางในบริเวณอื่นของสงขลามาก่อน ซึ่งเมื่อย้อนไปในอดีตเริ่มแรกการตั้งชุมชนพื้นที่เมืองสงขลาได้มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สืบเนื่องเรื่อยมาเป็นชุมชนทำให้พื้นที่นี้มีแหล่งโบราณสถานและแหล่งโบราณวัตถุที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายประการ
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล
กำลังอยู่ระหว่างจัดทำข้อมูล

จิรศักดิ์ เพ็ญมาศ. (2558). การปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนสายวัฒนธรรมเมืองสงขลาเพื่อการท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ตะวัน ตนยะแหละ และสายใจ เบ็ญโส๊ะ. (2563). การสร้างสรรค์ลวดลายและผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกสู่ชุมชนผ่านวิถีเมืองเก่าจังหวัดสงขลา. (รายงานการวิจัย). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

ธนธรณ์ ก้งเส้ง. (2563). การศึกษาบริบทเมืองเก่าสงขลา บ่อยาง สู่การสร้างสรรค์ศิลปะจัดวางในพื้นที่ท่าน้ำศักดิ์สิทธิ์พิทักษ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศิลปะการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นวัทตกร อุมาศิลป์และณัฐชนา นวลยัง. (2563). การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีวัฒนธรรมย่านเมืองเก่าจังหวัดสงขลา. (รายงานการวิจัย). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

คมชัดลึก. (2560). เล่าเรื่องเมืองเก่าสงขลา ตระการตาสมโภช 174 ปี. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2566, จาก https://www.komchadluek.net/

วชญานุตม์ ถาวโรฤทธิ์. (2560). การศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าสงขลา. วิทยานิพนธ์การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต สาขาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศราวัสดี นวกัณห์วรกุล. (2562). แนวทางการพัฒนาประสบการณ์ร่วมทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองเก่าสงขลาและเมืองจอร์จทาวน์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศุภชัย ชูศรี. (2556). พัฒนาการของการจัดองค์ประกอบระดับเมืองในเขตเมืองเก่าสงขลาปี พ.ศ. 2379 -2483. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศุภชัย ชูศรี. (2560). กำเนิดและพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานบริเวณเขตชุมชนชาวจีนในเมืองเก่าสงขลา. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 29(2), 13-36.

สวรรษ์พร อุดมรัตน์. (2556). รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเมืองเก่าสงขลา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สุนิสา มุนิเมธีและเก็ตถวา บุญปราการ. (2556). พื้นที่ย่านเมืองเก่าสงขลา: การทำสถาปัตยกรรมให้กลายเป็นสินค้า ภายใต้บริบทการท่องเที่ยว. ในการสัมมนาทางวิชาการเรื่องการประชุมหาดใหญ่วิชาการครั้งที่ 4. (น. 53-64). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

สุภาวดี เชื้อพราหมณ์. (2546). ตึกแถว ผลผลิตทางกายภาพและวัฒนธรรมในชุมชนเมืองเก่า จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อนุสรณ์ กำบัง. (2546). ห้องแถวเมืองสงขลา : รูปแบบ องค์ประกอบและพัฒนาการ (พ.ศ.2385-2504). วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อริสา สายศรีโกศล. (2565). ย่านเมืองเก่าสงขลา: มิติของการจัดการชุมชน สู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ, 7(3), 578-598.

Sakura Pink. (2565). The Beautiful Chapter of Songkhla สงขลา เสน่ห์เมืองเก่าสิงหนคร. ค้นจาก https://myworld-online.com/