-
ชุมชนของชาวยองบ้านศรีเมืองยู้ มีประวัติศาสตร์ของชุมชนที่ยาวนาน และยังคงปรับตัวให้เข้ากับโลกปัจจุบัน อีกทั้งยังมีวิถีชีวิตที่หลากหลาย
-
ลุ่มแม่น้ำแม่วาง เป็นพื้นที่ที่มีความสมบูรณ์ทางทรัพยากร ความหลากหลายของกลุ่มคน ชาติพันธุ์ การทำมาหากินหลายรูปแบบ การจัดการทรัพยากรที่อยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการผลิตที่ชาวบ้านเรียกว่า "อาหารจานอร่อยที่ทำให้เรามีกินตลอด" ซึ่งได้พัฒนาคู่การจัดการน้ำด้วยระบบเหมืองฝ่าย ที่เป็นหัวใจสำคัญในการจัดสรรน้ำเพื่อการผลิต
-
หมู่บ้านป่าห้า หมู่ที่ 9 มีการแบ่งส่วนการปกครองในหมู่บ้านแบบหมวดมื้อ (ป๊อก) มี 11 ป๊อกส่วนใหญ่มี อสม.ทำหน้าที่ในการดูแล เพื่อเป็นการแบ่งความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม หรือตามประเพณีต่างๆ ทั้งในและนอกชุมชน
-
ชุมชนมูเซอ บ้านหัวปาย เป็นชุมชนที่นำเอา "พึ๊เข่า" หรือขันโตก ภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์มูเซอมาสร้างสรรค์เป็นสินค้า OTOP สร้างรายได้เสริมนอกเหนือฤดูกาลการทำเกษตรให้แก่คนในชุมชน
-
-
เป็นหนึ่งในชุมชนที่เด่นในด้านหัตถกรรม ตั้งแต่การแต่งกาย เครื่องนุ่งห่ม ไปจนถึงเครื่องมือเครื่องใช้ ประกอบกับการทำเกษตรที่มีวิถีและความสัมพันธ์ทางสังคมที่ไม่เหมือนใคร
-
วัฒนธรรมที่ผสานความเชื่อที่หลากหลายเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านหนองเต่า
-
ชุมชนบ้านกาด เป็นชุมชนชนบท ที่อาศัยอยู่ร่วมกันแบบเครือญาติและชาวบ้านส่วนใหญ่ในชุมชนจะเป็นบุคคลที่อาศัยอยู่ในชุมชนตั้งแต่เกิด ปรากฏวัฒนธรรมประเพณีที่ทำกันตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษแล้วถ่ายทอดกันมาสู่รุ่นต่อรุ่น ได้แก่ งานทำบุญทานข้าวใหม่ งานประเพณีปี๋ใหม่เมือง (วันสงกรานต์) งานทำบุญสรงน้ำพระธาตุ งานไหว้ศาลเจ้าบ้าน งานทำบุญถวายทานสลากภัต และงานทอดกฐินสามัคคี
-
ชุมชนบ้านทรายงาม มีวัฒนธรรมความเชื่อ เรื่องการเข้าทรงสะเดาะเคราะห์ต่อชะตา โดยเชื่อว่าเรื่องการต่ออายุจะทำให้มีชีวิตยืนและเสริมสิริมงคลในชีวิต