-
ศิลปสถาปัตยกรรมล้านนาที่ผสมผสานกับศิลปสถาปัตยกรรมไตลื้อ และวิถีชีวิตของชาวไตลื้ออันเป็นเอกลักษณ์ ทั้งประเพณี ความเชื่อ วัฒนธรรม การแต่งกาย และอาหาร
-
ชุมชนที่ยังคงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน เช่น ประเพณีสรงน้ำพระธาตุวัดสบตาล การบวงสรวงเจ้าพ่อนาเวียง ประเพณีปีใหม่เมือง ประเพณีแห่ไม้ค้ำศรีมหาโพธิ์ ประเพณีตานก๋วยสลาก
-
ชุมชนเมืองขนาดใหญ่บนพื้นที่ทางการรถไฟแห่งประเทศไทย กับพัฒนาการของสังคมและการพัฒนาชุมชน
-
เป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์อายุราวคราวเดียวกับเมืองเชียงใหม่และลำพูน หรือมีอายุประมาณ 400 - 700 ปี สังเกตจากการพบเห็น ซากโบราณสถาน ซากโบราณวัตถุต่างๆ เช่น ถ้วยชาม เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องปั้นดินเผา หิน อิฐ ซากปรักหักพังที่ทับถมกันมาเป็นเวลาช้านาน ไม่ว่าจะเป็นบริเวณที่อยู่อาศัย ที่นา ที่สวน ที่ไร่ และเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรมและพิธีกรรมความเชื่อ ที่มีความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
-
ชุมชนแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำวังในเส้นทางไปกราบสักการะพระธาตุลำปางหลวง ซึ่งมีเรื่องราวและประเพณีที่เป็นวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ในภูมิภาคของตน
-
ชุมชนเกษตรอินทรีย์ผักปลอดสาร อันมีจุดเริ่มต้นจากโครงการฟื้นฟูต้นทุนชีวิตสู่ชุมนท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาระบบเศรษฐกิจให้ชาวบ้านมีกิน มีใช้ อย่างยั่งยืน
-
การขยายตัวของชุมชนเมืองขนาดใหญ่ และพัฒนาการทางสังคมจนเกิดเป็นชุมชนใหม่ใจกลางเมืองสงขลา
-
ชุมชนท่องเที่ยวทางธรรมชาติน้องใหม่ของตำบลเมืองลี หมู่บ้านเก่าแก่กลางขุนเขาแห่งอุทยานแห่งชาติขุนสถาน