-
บ้านโป่งน้ำร้อนอยู่ท่ามกลางขุนเขา น้ำตก และบ่อน้ำแร่ร้อน จึงดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ดี ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ที่อาศัยอยู่กับป่าอย่างเรียบง่าย ขณะเดียวกันมีต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีอาหารจากธรรมชาติปลอดสารพิษ และวัฒธรรมวิถีชีวิตแบบชาวปกาเกอะญอ รวมถึงผลิตภัณฑ์ชุมชนที่พัฒนาจากวิถีชีวิตของชาวบ้าน เช่น การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ งานจักสานจากไม้ไผ่ และกล้วยกรอบน้ำแร่
-
ชุมชนมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ตั้งแต่สมัยอยุธยา และยังมี "วัดอาน" เป็นวัดประจำชุมชน และมีหมู่บ้านศิลปหัตถกรรมเฉลิมพระเกียรติไม้กวาดไยมะพร้าว
-
ชุมชนของชนเผ่าพื้นเมืองไทแสกที่มีรากฐานมาจากประเทศเวียดนาม เป็นชุมชนที่ยังรักษาภาษาวัฒนธรรมไทแสกได้อย่างสมบูรณ์ มีการพูดภาษาแสก มีพิธีกินเตดเดน
-
เป็นชุมชนที่มีการตั้งถิ่นฐานวิถีชีวิตความเป็นอยู่และความเชื่อที่ปรากฏในหลักฐานต่างๆมาช้านาน จนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีความโดดเด่นเรื่องการค้าขาย และการเข้ามาของศาสนาความเชื่อต่างๆ
-
ศูนย์เรียนรู้ผ้าทอที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการทอผ้าไทดำ กลุ่มผ้าฝ้ายพื้นเมืองบ้านนาป่าหนาด
-
ชุมชนที่ยังคงยึดมั่นในการอนุรักษ์ชุมชนและวัฒนธรรมประเพณีชาวมอญ เช่น การรำผีเม็ง(มอญ) ประเพณีลอยอะมด(ลอยกระทง)
-
-
มีการจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์เพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ซึ่งบ้านนาปลาจาดให้ความสำคัญในด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยได้กำหนดการดูแลและกำหนดขอบเขตป่าชุมชนไว้อย่างชัดเจน มีเขตอนุรักษ์พันธุ์ปลา อนุรักษ์พันธุ์เขียดแลว กิจกรรมบวชป่าชุมชน ทำฝายชะลอน้ำ บวชป่า บวชปลา กิจกรรมปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่าง ๆ
-
-
เป็นชุมชนที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งอยู่ร่วมกัน มีวัดทุ่งผักกุดเป็นศูนย์กลางชุมชนและเป็นอนุสรณ์สถาน มีการสร้างด้วยสถาปัตยกรรมอาคารไม้อายุกว่าร้อยปี
-
ถิ่นฐานของชนเผ่าคะฉิ่นเพียงหมู่บ้านเดียวในประเทศไทย ที่ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นลวดลายผ้าทอ ภาษาพูด ดนตรี การรำมะหน่าว เป็นต้น
-
วัฒนธรรมลาวครั่ง การปลูกหม่อน-เลี้ยงไหม เพื่อนำมาทอผ้าไหม มีพิพิธภัณฑ์ลาวครั่งที่จัดแสดงโบราณวัตถุ