Advance search

แสดง 411 ถึง 420 จาก 705 ผลลัพธ์
|
บ้านสามขา

ลำปาง | สินค้าชุมชน, ข้าวหอมล้านนา, บ้านสามขา

ข้าวพันธุ์ล้านนาสู่สินค้าขึ้นชื่อของบ้านสามขา

อ่านต่อ

บ้านท่าไม้ทอง

เพชรบูรณ์ | ภูมินาม, พืชพรรณธรรมชาติ, นาตะกรุด

บ้านท่าไม้ทอง หมู่บ้านที่แยกออกมาจากบ้านนาตะกรุด ตั้งอยู่เลียบริมแม่น้ำป่าสัก วิถีชีวิตและอาชีพอยู่ในภาคเกษตรกรรม

อ่านต่อ

วัดคีรีวัน

นครนายก | ผ้าทอ, ข้าวยาโค, ลาวเวียง, ไทเวียง

วัดคีรีวัน ชาวไทยเชื้อสายลาวเวียง (ไทยเวียง) หัตถกรรมจักสาน เครื่องจักสานไม้ไผ่ตกแต่งผ้าขาวม้า และอาหารพื้นถิ่น

อ่านต่อ

บ้านในสอย

แม่ฮ่องสอน | ไทใหญ่, พม่า, กะเหรี่ยงคอยาว

วิถีชุมชนชาติพันธุ์กะยัน หรือในนามที่คนทั่วไปเรียกว่ากะเหรี่ยงคอยาว ทรัพยากรชีวภาพที่มีในชุมชนตามธรรมชาติ การปลูกพืชแบบผสมผสาน ปลอดสารพิษ และมันญี่ปุ่น พืชสำคัญที่สร้างรายได้ให้กับชุมชน

อ่านต่อ

บ้านฟ่อน

ลำปาง | ลำปาง, วัฒนธรรมล้านนา, บ้านฟ่อน

ศิลปะวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ อีกท้้งเป็นชุมชนที่เจ้าบุญญาวาทย์แห่งลำปางได้เคยมาพักแรมในพื้นที่บ้านฟ่อน เพื่อสมโภชวัดบ้านฟ่อน

อ่านต่อ

บ้านแควป่าสัก

เพชรบูรณ์ | แม่น้ำป่าสัก, แคว, บุญกลางบ้าน

สายธารของแม่น้ำสายใหญ่ที่แยกออกมาเป็นแควแม่น้ำป่าสัก จึงเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ นามว่า "บ้านแควป่าสัก"

อ่านต่อ

บ้านสทิงหม้อ

สงขลา | ผลิตภัณฑ์, เครื่องปั้นดินเผา, ทะเลสาบสงขลา

ชุมชนโบราณในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา มีร่องรอยของความเป็นเมืองท่าและยังคงสืบทอดการทำเครื่องปั้นดินเผาแบบโบราณ

อ่านต่อ

วัดชัยมงคล

สงขลา | ชุมชนวัดชัยมงคล, วัดชัยมงคล, เจดีย์พระบรมธาตุ

ชุมชนเก่าแก่ในอดีตท่ามกลางสังคมเมืองขนาดใหญ่ และพระอารามหลวงคู่เมืองสงขลา ศูนย์รวมศรัทธานานนับร้อยปี

อ่านต่อ

บ้านเข็กน้อย

เพชรบูรณ์ | ผลิตภัณฑ์ชุมชน, ผ้าเขียนเทียน, แมคคาเดเมีย

หมู่บ้านวัฒนธรรมบ้านเข็กน้อย ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กับวิถีชีวิตและมรดกภูมิปัญญาอันล้ำค่าสู่การพัฒนาและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมศักยภาพและฐานรากด้านเศรษฐกิจของสมาชิกในชุมชน

อ่านต่อ

ย่านเมืองเก่าสงขลา

สงขลา | ด้านเศรษฐกิจ

ชุมชนเมืองเก่าสงขลาเป็นพื้นที่เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 200 ปี ภายในชุมชนมีสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ที่มีหลากหลายรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทั้งรูปแบบอาคารตึกแถวแบบจีน แบบไทยและแบบตะวันตกปะปนสองข้างถนนภายในชุมชน จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรมภายในเมืองเก่าสงขลา ทั้งนี้ปัจจุบันจึงสามารถสัมผัสกลิ่นอายประวัติศาสตร์ความเป็นพหุวัฒนธรรมในอดีตของเมืองสงขลาได้ในพื้นที่นี้

อ่านต่อ