-
บ้านห้วยบง ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่เนินเขาสูงที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่คู่กับการดำรงชีวิตและวิถีชุมชน และศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านห้วยบง แหล่งเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพชุมชน
-
-
วิถีของชาวไทใหญ่ที่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากประเทศพม่า ประเพณี 12 เดือน พระพุทธรูปแบบล้านนา
-
จากกลุ่มคนที่เข้ามาอาศัยอยู่ชั่วคราวตามพื้นที่เกษตรกรรม กลายเป็นชุมชนบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ สู่ศูนย์ศิลปาชีพบ้านแม่ต๋ำพื้นที่พัฒนาศักยภาพชุมชน
-
บ้านแม่สะป๊อก ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอและชนพื้นเมือง กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติ ผืนป่า แหล่งน้ำ และสภาพแวดล้อมที่สวยงาม
-
ซึมซับวัฒนธรรมปกาเกอะญอ สัมผัสความงามธรรมชาติและกลิ่นไอแห่งการผสมผสานของวิถีชีวิตดั้งเดิมและพลวัตทางสังคมที่ไหลบ่าในชุมชนบ้านแม่อูคอหลวง
-
ชุมชนไทยใหญ่บ้านปางหมูเป็นชุมชนไทยใหญ่แห่งแรกก่อนการสร้างเมืองแม่ฮ่องสอน เป็นชุมชนที่สมาชิกในชุมชนยังรักษามรดกทางวัฒนธรรมทั้งรูปธรรมและนามธรรมให้คงอยู่คู่กับชุมชน อาทิ วัดปางหมู พระธาตุปางหมู หอเจ้าเมิง เสาใจบ้าน รวมถึงขนบ ธรรมเนียม ประเพณี ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สะท้อนความเป็นชาวไทยใหญ่
-
สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ คือ วัดโมคัลลาน และงานหัตถกรรมที่มีชื่อเสียง คือ ผ้าฝ้ายทอมือ
-
“งดงามวิหารไทลื้อ ลือชื่อผ้าทอสีธรรมชาติ น้ำใสสะอาดวังปาล ผืนป่าเขียวขจี ยึดวิถีวัฒนธรรมไทลือ” ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดน่าน กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประเพณี และการปรับตัวให้เข้ากับสังคมในโลกยุคปัจจุบัน
-
ถิ่นฐานของชนเผ่าคะฉิ่นเพียงหมู่บ้านเดียวในประเทศไทย ที่ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นลวดลายผ้าทอ ภาษาพูด ดนตรี การรำมะหน่าว เป็นต้น
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะบนพื้นที่ภูเขาสูง และมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ พื้นที่ศูนย์การเรียนรู้ชาวไทยภูเขา แม่ฟ้าหลวง กับวิถีชีวิตท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์