ชุมชนแนะนำ
ดูทั้งหมด >>
ตลาดน้อย
กรุงเทพมหานครความโดดเด่นด้านงานฝีมือและงานช่าง แสดงถึงองค์ความรู้วัฒนธรรมชาวจีนที่ได้ส่งต่อมายังรุ่นต่อรุ่น เช่น การหล่อพระ การทำรองเท้า การทำหมอน การทำขนมโบราณ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปตามเทศกาล เช่น การแสดงงิ้ว การทำอาหารเจ ฯลฯ

บ้านเมืองบัว
ร้อยเอ็ดชุมชนโบราณในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายหรือยุคโลหะตอนปลาย มีโบราณสถานในวัฒนธรรมเขมร(กู่เมืองบัว) สิมหรืออุโบสถในวัฒนธรรมลาว มีความเชื่อเรื่องผีที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชนและข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้

หลวงพรต-ท่านเลี่ยม
กรุงเทพมหานครชุมชนเก่าริมคลองอายุกว่า 100 ปี ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมชาวมอญและจีน ภายในชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้ และสถานที่เก่าแก่ที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์เอาไว้อีกด้วย

ตลาดน้อย
กรุงเทพมหานครความโดดเด่นด้านงานฝีมือและงานช่าง แสดงถึงองค์ความรู้วัฒนธรรมชาวจีนที่ได้ส่งต่อมายังรุ่นต่อรุ่น เช่น การหล่อพระ การทำรองเท้า การทำหมอน การทำขนมโบราณ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปตามเทศกาล เช่น การแสดงงิ้ว การทำอาหารเจ ฯลฯ

บ้านเมืองบัว
ร้อยเอ็ดชุมชนโบราณในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายหรือยุคโลหะตอนปลาย มีโบราณสถานในวัฒนธรรมเขมร(กู่เมืองบัว) สิมหรืออุโบสถในวัฒนธรรมลาว มีความเชื่อเรื่องผีที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชนและข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้

หลวงพรต-ท่านเลี่ยม
กรุงเทพมหานครชุมชนเก่าริมคลองอายุกว่า 100 ปี ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมชาวมอญและจีน ภายในชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้ และสถานที่เก่าแก่ที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์เอาไว้อีกด้วย

ตลาดน้อย
กรุงเทพมหานครความโดดเด่นด้านงานฝีมือและงานช่าง แสดงถึงองค์ความรู้วัฒนธรรมชาวจีนที่ได้ส่งต่อมายังรุ่นต่อรุ่น เช่น การหล่อพระ การทำรองเท้า การทำหมอน การทำขนมโบราณ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปตามเทศกาล เช่น การแสดงงิ้ว การทำอาหารเจ ฯลฯ
บ้านแม่หมีใน
ลำปางบ้านแม่หมีใน ชนกลุ่มปกาเกอญอเผ่าสะกอ อพยพมาจากบ้านเมืองคอน อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งถิ่นฐานมานานกว่า 175 ปี เป็นไปเพื่อแสวงหาที่ทำกินใหม่โดยเข้ามาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราบสูงที่ราบหุบเขาริมห้วยแม่หมี
บ้านรักไทย
แม่ฮ่องสอนหมู่บ้านรักไทย ได้นำเอาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวจีนยูนนานมานำเสนอ ปรับเปลี่ยนรูปแบบชุมชน ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม
บ้านนาตะกรุด
เพชรบูรณ์วัดโพธิ์ทอง เป็นทั้งศาสนสถานและสถานที่ท่องเที่ยว สามารถแวะเที่ยวชมกำแพงประตูศิลปะขอม และเข้าสักการะหลวงพ่อหินเขียว ที่จะจัดให้มีพิธีสำคัญฉลองในวันวิสาขบูชาของทุก ๆ ปี
เกาะปันหยี
พังงาบ้านกลางน้ำ ที่ตั้งเรียงรายอยู่กลางอ่าวพังงา ด้านหน้าของผาหินปูน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกที่รอต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้มาเยี่ยมเยือน
ตลาดร้อยปีสามชุก
สุพรรณบุรีชุมชนตลาดร้อยปีสามชุก เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจสำคัญของอำเภอสามชุก และแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับประเทศ
ข้อมูลชุมชนล่าสุด
ดูทั้งหมด >>ประเภทชุมชน
ดูทั้งหมด >>ห่างออกไปจากตัวเมืองแพร่ไม่ไกลนัก มีชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งแห่งเดียวในประเทศไทยที่ผู้คนยังคงสื่อสารด้วยภาษาอึมปี้ท่ามกลางความหลากหลายของชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนใกล้เคียง ผู้คนที่นี่ยังคงสืบสานภาษาและวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ขณะเดียวกันก็เรียนรู้รับปรับตัวกับพลวัตทางวัฒนธรรมประเพณีที่อยู่รายล้อมได้อย่างลงตัว
ชุมชนชาวประมงริมทะเลอ่าวไทย กับทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่แหล่งรายได้สร้างอาชีพอย่างยั่งยืน
หมู่บ้านนำร่องในโครงการหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนและพัฒนา จนได้รับรางวัลดีเด่น รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ครั้งที่ 7 ประจำปี 2551 ประเภทแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม
ชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งบนยอดดอยในอำเภอแม่วิน สถานที่ที่ยังคงอบอวลด้วยกลิ่นไอวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวปกาเกอะญอ ถ่ายทอดลำนำวิถีผ่านเสียงพิณเตหน่าและการขับบททา ชมนาขั้นบันไดและสวนผลไม้เมืองหนาว พืชเศรษฐกิจที่สร้างอาชีพ สร้างรายได้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
สัมผัสความบริสุทธิ์ทางธรรมชาติพร้อมไปเยือนถิ่นมันนิ กลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมและวิถีในผืนป่า ณ บ้านวังนาใน
ชุมชนเกษตรกรรมบนดอยสูง หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ Organic village แห่งแรกของจังหวัดเชียงใหม่
ชุมชนแบ่งตามภูมิภาค
ดูทั้งหมด >>ชุมชนขนาดเล็กบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน หมู่บ้านเก่าแก่ก่อตั้งมายาวนานมากกว่า 110 ปี
หมู่บ้านที่แยกตัวออกมาจากบ้านบุเปือย เป็นที่ราบสูงสลับกับเนินเตี้ย สภาพดินเป็นดินแดงภูเขาไฟ เหมาะแก่การปลูกพืชทุกชนิด ส่วนวัฒนธรรมในระยะแรกได้รับอิทธิพลจากชาวกูย ก่อนภายหลังได้รับอิทธิพลจากชาวไทยเชื้อสายลาวเข้ามาผสมผสาน และได้กลายเป็นวัฒนธรรมหลักของชุมชนในที่สุด
ประเพณีพิธีกรรมอันเนื่องเกี่ยวกับความตายของคนเขมรถิ่นไทย กับการเล่นตุ้มโมงที่เป็นดนตรีชั้นสูงของชาวบ้านปอยตะแบง
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงอยู่เย็นเป็นสุข ปี 2551 ชุมชนแห่งการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพจากการแปลงประยุกต์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การสร้างรายได้ ภายใต้การสนับสนุนของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเฉลิมพระเกียรติวัดเขากะโดน
การอยู่รวมกันของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวบน ไทยลาว และไทยโคราช ซึ่งมีความต่างกันด้านภาษา การแต่งกาย คติความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ทำให้บ้านน้ำลาดเกิดการแบ่งแยกคุ้มบ้านออกเป็น 3 คุ้มคือ คุ้มน้ำลาด คุ้มซับหงส์ และคุ้มซับเจริญ
ชุมชนบ้านท่าล้ง มีการจักรสานเป็นงานฝีมือที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานของชาวบรูบ้านท่าล้ง ซึ่งนอกจากอาชีพทำไร่ทำนาแล้ว อาชีพจักรสานก็เป็นหนึ่งอาชีพที่สร้างรายได้ในชาวบ้าน