-
หน้าหมู่บ้านละหว้าใหม่คอกควายมีถนนทางหลวงชนบทที่ตัดผ่าน ซึ่งฝั่งที่อยู่ตรงกันข้ามกับหมู่บ้าน เป็นอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ชื่อ “อ่างเก็บน้ำห้วยขุนแก้ว” สร้างขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในการบริโภค การเกษตร ประมงและการท่องเที่ยว มีความสวยงามและมีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในชุมชนหน้าหมู่บ้านมีศาลเจ้าเก่า ๆ ซึ่งบรรพบุรุษชาวละว้าได้สร้างไว้ ตามความเชื่อโบราณประเพณี เป็นที่เคารพสักการะและเป็นสถานที่ประกอบพิธีทำบุญกลางบ้านของชุมชนวัดแก้วศักดา เป็นที่พึ่งทางจิตใจของชาวละว้า คนในชุมชนไปทำบุญทุกวันธรรมสวนะ
-
เมืองหน้าด่านของนครหลวงลำปางที่มีเรื่องราวการต่อสู้ของชุมชน กลายเป็นชื่อของเมืองแห่งนี้
-
ใจกลางชุมชนมีต้นมะขามยักษ์อายุกว่าร้อยปี เป็นเสมือนศูนย์รวมความเชื่อและจิตวิญญาณของชาวกะเหรี่ยงโปว์บ้านคลองแห้ง (ปัจจุบันนี้ต้นไม้นี้ตายไปแล้ว)ในชุมชนบ้านคลองแห้งมีต้นไทรขนาดใหญ่อยู่ท้ายหมู่บ้าน ปัจจุบันเป็นรุกขมรดกทางวัฒนธรรม เป็นศูนย์รวมความเชื่อและจิตวิญญาณของชุมชน เป็นต้นไม้ที่คนในชุมชนใช้ในการประกอบพิธีค้ำต้นไทรประจำปีมีแม่น้ำคลองแห้งเป็นแหล่งน้ำกินน้ำใช้ และเป็นเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงผู้คนในชุมชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีความสำคัญต่อการดำรงวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงโปว์บ้านคลองแห้งมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ที่ชาวกะเหรี่ยงบ้านคลองแห้งใช้บริการด้านสุขภาพมีโรงเรียนบ้านคลองแห้งวิทยาเป็นสถานศึกษาสำหรับลูกหลาน ชาวชาวกะเหรี่ยง ทำให้ลูกหลานไม่ต้องไปเรียนห่างไกลบ้านวัดคลองแห้งวัฒนาราม เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวกะเหรี่ยงโปว์ เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจและเป็นที่พึ่งทางใจของชาวบ้าน
-
ชุมชนประไรโหนก กับวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นและมรดกภูมิปัญญาอันล้ำค่าในการทำไม้กวาดดอกหญ้า สู่การพัฒนาระบบเศรษฐกิจพื้นฐานเพื่อสร้างเสริมศักยภาพชุมชน
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า-ไทลื้อจากหลายพื้นที่เข้ามารวมตัวกันเพื่อแสวงหาพื้นที่ทำกินและพัฒนาคุณภาพชีวิต สู่สังคมพหุวัฒนธรรมท่ามกลางดินแดนธรรมชาติในพื้นที่ชายแดนริมฝั่งแม่น้ำโขง
-
การเข้ามาตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ ขยับขยายพื้นที่เป็นชุมชนกลุ่มเล็ก ๆ กับสังคมพหุวัฒนธรรมและกลุ่มทางความเชื่อที่เป็นเอกลักษณ์
-
-
แม่แดดน้อย ชุมชนปกาเกอะญอที่ยืนหยัดหาทางสู้ สร้างทางรอดกับระบบเศรษฐกิจครอบครัวจนเกิดการรวมตัวกลุ่มสตรีด้อยโอกาสก่อตั้งวิสาหกิจชุมชนบ้านแม่แดดน้อยและร่วมกับหมู่บ้านจาก 3 ตำบลในอำเภอกัลยาณิวัฒนา พัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สินค้าจากภูมิปัญญา เชื่อมโยงสายใยแห่งจิตวิญญาณภายใต้ชื่อแบรนด์ "เดปอถู่" แบรนด์สินค้าที่เป็นมากกว่าแค่ผลิตภัณฑ์ หากแต่เป็นตัวแทนเรื่องราวชีวิตของสตรีผู้ด้อยโอกาสชาวปกาเกอะญอ
-
กลุ่มผู้คนที่มาตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่บนเกาะเพื่อประกอบอาชีพประมง จนกลายเป็นชุมชนบนพื้นที่ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ และการรวมกลุ่มผลักดันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชน
-
“งดงามวิหารไทลื้อ ลือชื่อผ้าทอสีธรรมชาติ น้ำใสสะอาดวังปาล ผืนป่าเขียวขจี ยึดวิถีวัฒนธรรมไทลือ” ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดน่าน กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประเพณี และการปรับตัวให้เข้ากับสังคมในโลกยุคปัจจุบัน
-
บ้านขุนอมลองกับประวัติศาสตร์การย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชนชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ เพื่อแสวงหาที่ทำกินที่มีความอุดมสมบูรณ์ และการเปลี่ยนแปลงความเชื่อกับพัฒนาการชุมชน
-
“เมืองขนมจีน ถิ่นมะขามหวาน เทศกาลแข่งเรือยาว ชมหมอกหนาวภูทับเบิก จิตรกรรมล้ำเลิศวัดนาทราย”