-
ชุมชนริมฝั่งคลองสำโรง ที่เชื่อมติดกับชุมชนศาลาเหลือง ชุมชนเดิมก่อนที่จะแบ่งเขตชุมชนใหม่เพื่อสะดวกต่อการบริหารจัดการ
-
มีวัดชัยมงคลพระอารามหลวงเป็นจุดเด่นของชุมชนนี้มีวัดชัยมงคลพระอารามหลวงเป็นจุดเด่นของชุมชน
-
-
ผ้าทอพื้นเมืองโบราณ หมอนขวาน ภาษากลุ่มชาติพันธุ์ ประเพณีกินดอง ประเพณีแห่นางแมวขอฝน เทศกาลสารทเดือนสิบของชาวลาวเวียง
-
เป็นชุมชนที่มีหลากหลายชาติพันธุ์ ทั้งไทย จีน มอญ ลาว แขก ละว้า ขมุ รวมถึงกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรหลัก สามารถชมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีเทศกาลท่องเที่ยวไม้เมืองหนาว
-
ย่านเมืองเก่าสตูลเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานอาศัยในพื้นที่เมืองสตูลมาแต่ครั้งอดีต ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันก่อเกิดวิถีชุมชนที่มีลักษณะเฉพาะทั้งด้านอาหาร สถาปัตยกรรม ระบบความสัมพันธ์ของชุมชน เป็นผลมาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับปรนเพื่อการอยู่ร่วมกัน และเพื่อให้เกิดความสมสมัยท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม
-
หมู่บ้านแห่งนี้เดิมทีเป็นพื้นที่ที่มีป่าไม้ปกคลุมหนาแน่น มีสัตว์ป่าอยู่อาศัยอย่างชุกชุม ทางทิศเหนือของหมู่บ้านมีสภาพเป็นทุ่งกว้าง พื้นที่ป่าแห่งนี้เริ่มมีประชาชนเข้าอาศัย เมื่อประมาณ พ.ศ. 2400 หรือ 150 ปีมาแล้ว
-
ความเป็นอยู่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงการอยู่ร่วมกันของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทั้งชาติพันธุ์อาข่า ลาหู่ และจีนฮ่อ รวมไปถึงประเพณี วัฒนธรรมทางศาสนาที่หลากหลาย แม้ว่าวัฒนธรรมจะแตกต่างแต่ผู้คนในชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างลงตัว
-
พื้นที่ทางวัฒนธรรมไทย-เขมร ทางผ่านในการเดินทางสู่แหล่งท่องเที่ยวสำคัญหลายแห่งของจังหวัดศรีสะเกษ ประตูไปสู่ปราสาทพระวิหารและผามออีแดง แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดศรีสะเกษที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก