-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลาวโซ่ง ที่ศรัทธาในศาสนาคริสต์ ทั้งยังมีเอกลักษณ์โดดเด่นในเรื่องของการแต่งกายของกลุ่มชาติพันธุ์
-
เดิมเป็นพื้นที่ป่าธรรมชาติไม้เบญจพรรณ แยกออกจากบ้านนาตะกรุด สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นราบ บางส่วนเป็นที่ราบสูงและที่ราบลุ่ม ชาวบ้านมักประกอบอาชีพเกษตรกรรม
-
ผู้คนยังคงยึดอาชีพทำนา ทำไร่ การแสดงออกทางวัฒนธรรรมจึงอิงอยู่กับวิถีชีวิต อย่างประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว สีข้าว และการเอาแรงงานบุญต่าง ๆ
-
ชุมชนที่มีวัฒนธรรมส่วนใหญ่คล้ายกับทางภาคอีสาน อาทิ พิธีการแต่งงาน การทำพิธีบายศรีสู่ขวัญโดยพ่อหมอของหมู่บ้าน
-
ชาติพันธุ์มอญ การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของชาวไทยเชื้อสายมอญ ยังคงยึดมั่นในพุทธศาสนาอย่างเหนียวแน่น ประเพณีที่สําคัญ เช่น เทศกาลตักบาตรนํ้าผึ้ง เทศกาลตักบาตรดอกไม้ ตักบาตรเทโว และเทศกาลกวนกระยาสารท
-
ชุมชนที่มีประวัติศาสตร์ชุมชนไทยพวน มีประเพณีท้องถิ่น รวมทั้งมีพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านโคกกะเทียม
-
-
หมู่บ้านที่แยกตัวออกมาจากบ้านนาตะกรุด หมู่ 1 ลักษณะเป็นพื้นที่ราบสลับกับเนินเขา อยู่ห่างจากอำเภอศรีเทพไม่มากนัก
-
วัดคีรีวัน ชาวไทยเชื้อสายลาวเวียง (ไทยเวียง) หัตถกรรมจักสาน เครื่องจักสานไม้ไผ่ตกแต่งผ้าขาวม้า และอาหารพื้นถิ่น
-
บ้านท่าไม้ทอง หมู่บ้านที่แยกออกมาจากบ้านนาตะกรุด ตั้งอยู่เลียบริมแม่น้ำป่าสัก วิถีชีวิตและอาชีพอยู่ในภาคเกษตรกรรม