-
บ้านโป่งน้ำร้อนอยู่ท่ามกลางขุนเขา น้ำตก และบ่อน้ำแร่ร้อน จึงดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ดี ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ที่อาศัยอยู่กับป่าอย่างเรียบง่าย ขณะเดียวกันมีต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีอาหารจากธรรมชาติปลอดสารพิษ และวัฒธรรมวิถีชีวิตแบบชาวปกาเกอะญอ รวมถึงผลิตภัณฑ์ชุมชนที่พัฒนาจากวิถีชีวิตของชาวบ้าน เช่น การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ งานจักสานจากไม้ไผ่ และกล้วยกรอบน้ำแร่
-
แหล่งเรียนร่องรอยรู้ทางประวัติศาสตร์ชาติตั้งแต่สมัยสงครามโลก และชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า ที่ก่อรูปตั้งถิ่นฐานเป็นหมู่บ้านกว่า 30 ปี
-
ปู่ม่านย่าม่าน หรือตำนานกระซิบรักบรรลือโลก ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารวัดภูมินทร์ ซึ่งถูกสร้างสรรค์โดย “หนานบัวผัน’ ช่างวาดชาวไทลื้อผู้โด่งดังแห่งดินแดนล้านนา
-
ธรรมาสน์เสาเดียว ศาสนวัตถุเชิงสัญลักษณ์ที่มีบทบาทสำคัญในการประกอบประเพณีและพิธีกรรมทางศาสนาของชาวบ้าน และมรดกภูมิปัญญาของชาวผู้ไท
-
ประเพณีพิธีกรรมอันเนื่องเกี่ยวกับความตายของคนเขมรถิ่นไทย กับการเล่นตุ้มโมงที่เป็นดนตรีชั้นสูงของชาวบ้านปอยตะแบง
-
การอยู่รวมกันของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวบน ไทยลาว และไทยโคราช ซึ่งมีความต่างกันด้านภาษา การแต่งกาย คติความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ทำให้บ้านน้ำลาดเกิดการแบ่งแยกคุ้มบ้านออกเป็น 3 คุ้มคือ คุ้มน้ำลาด คุ้มซับหงส์ และคุ้มซับเจริญ
-
ชุมชนบ้านท่าล้ง มีการจักรสานเป็นงานฝีมือที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานของชาวบรูบ้านท่าล้ง ซึ่งนอกจากอาชีพทำไร่ทำนาแล้ว อาชีพจักรสานก็เป็นหนึ่งอาชีพที่สร้างรายได้ในชาวบ้าน
-
ชุมชนบ้านปากยามมีความสมบูรณ์ทางทรัพยากรและสัตว์น้ำ ชาวบ้านจึงมีความเชี่ยวชาญในการจับปลาและเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ
-
ประติมากรรมงานปั้นพระพุทธชนะมาร ปางมารวิชัยทรงเครื่ององค์ใหญ่ ภายในวัดม่วงสระน้อย สลักโดยฝีมือช่างพื้นบ้าน ตั้งตระหง่านเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาผู้คนบริเวณริมลำน้ำคลองพระเพลิง
-
กะเหรี่ยงบ้านแม่หลอด เป็นชุมชนที่มีความหลากหลายในเรื่องการนับถือศาสนา มีทั้งที่นับถือศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ตลอดจนผู้ไม่นับถือศาสนา แต่ศาสนาของชาวบ้านยังคงอยู่ภายใต้มโนทัศน์เดียวกัน คือ ชาวบ้านทุกคนมีความเชื่อเกี่ยวกับดวงวิญญาณและอำนาจที่ไร้ตัวตน อันเป็นความเชื่อดั้งเดิมของชาวกะเหรี่ยงตั้งแต่ก่อนการเข้ามาของศาสนา