-
ชุมชนที่ยังคงยึดมั่นในการอนุรักษ์ชุมชนและวัฒนธรรมประเพณีชาวมอญ เช่น การรำผีเม็ง(มอญ) ประเพณีลอยอะมด(ลอยกระทง)
-
-
ชุมชนโบราณที่มีอายุกว่า 200 ปี บ้านโบราณ พระใหญ่ และศาลเจ้าพ่อปากเหือง ปรากฏการณ์แม่น้ำสองสี เป็นพื้นที่การเรียนรู้และการท่องเที่ยวต้นดีหมี
-
อุทยานนกน้ำทะเลน้อย มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงถือเป็นแรมซาร์ไซต์ แห่งแรกของประเทศไทย
-
ชุมชนที่มีต้นไม้ใหญ่ ไม้หายาก และสัตว์นานาชนิด ประชาชนมีกฎระเบียบในการดำเนินป่าชุมชนอย่างยั่งยืน เป็นต้นแบบของชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
-
-
ห่างออกไปจากตัวเมืองแพร่ไม่ไกลนัก มีชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งแห่งเดียวในประเทศไทยที่ผู้คนยังคงสื่อสารด้วยภาษาอึมปี้ท่ามกลางความหลากหลายของชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนใกล้เคียง ผู้คนที่นี่ยังคงสืบสานภาษาและวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ขณะเดียวกันก็เรียนรู้รับปรับตัวกับพลวัตทางวัฒนธรรมประเพณีที่อยู่รายล้อมได้อย่างลงตัว
-
ชุมชนเล็ก ๆ แห่งหนึ่งบนยอดดอยในอำเภอแม่วิน สถานที่ที่ยังคงอบอวลด้วยกลิ่นไอวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวปกาเกอะญอ ถ่ายทอดลำนำวิถีผ่านเสียงพิณเตหน่าและการขับบททา ชมนาขั้นบันไดและสวนผลไม้เมืองหนาว พืชเศรษฐกิจที่สร้างอาชีพ สร้างรายได้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
-
หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไท สืบสานภูมิปัญญาการรักษาโรคด้วยพิธีกรรมเหยาที่มีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ปลูกฝังค่านิยมตามแบบฉบับชาวผู้ไท เอกลักษณ์ที่พบเห็นได้จากบ้านม่วงไข่
-
ชุมชนเกษตรกรรมลุ่มน้ำโขง ต้นแบบการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไม้ยางนาสู่การสร้างคุณค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์