-
-
-
กุฎีเจริญพาศน์ เป็นกะดีเพียงแห่งเดียวในกลุ่มพื้นที่วัฒนธรรมแขกเจ้าเซ็นสามกะดี-สี่สุเหร่า ที่ยังไม่จดทะเบียนเป็นมัสยิด และยังคงรักษาอัตลักษณ์ความเป็น “กะดี” โดยนามไว้ได้
-
ชุมชนผลิตทองคำเปลวเก่าแก่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 นับว่าเป็นแหล่งการค้าทองคำเปลว และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในอดีต อีกทั้งยังเป็นชุมชนที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในด้านการทำทองของกรุงเทพมหานคร
-
-
ชุมชนที่ผู้คนส่วนใหญ่มีพื้นเพเป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทราและใกล้เคียง เข้ามาลงหลักปักฐานในเมือง และยึดอาชีพทำเครื่องทองลงหิน
-
2510 คือปีที่บ้านสระปรือถูกตั้งขึ้น ชื่อชุมชนมีที่มาจากการเรียกพืชตระกูลกกชนิดหนึ่ง จาก ต้นผรือ เพี้ยนเสียงกลายเป็น ต้นปรือ ชาวบ้านจึงนำมาตั้งชื่อกระทั่งถึงปัจจุบัน
-
ผลิตภัณฑ์ชุมชน การทอเสื่อกก ที่ถูกนำสานทอด้วยความละเมียด มีทั้งลวดลายกาฬสินธ์ุ ลายยโสธร ลายคนแคระ นิยมทำจากต้นกกราชินี
-
ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ที่ยังคงสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอย่างการลงแขกเกี่ยวข้าวและประเพณีสงกรานต์ไว้เป็นอย่างดี
-
หมู่บ้านที่มีบึงน้ำเป็นแนวยาวตลอดทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน อีกทั้งมีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมภาคอีสานและภาคกลาง อาทิ การบวงสรวงดวงวิญญาณเจ้าพ่อศรีเทพ งานบุญผะเหวด
-
ชุมชนสืบเชื้อสายมาจากชาติพันธุ์ลาวครั่งมีร่องรอยของประวัติศาสตร์ ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่ออันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของลาวครั่งบ้านกุดจอก