-
วิถีชีวิตของชาวบ้านในลุ่มแม่น้ำแม่แจ่มคือตัวแทนสังคมวัฒนธรรมพื้นบ้านไทยวน ด้วยว่าชุมชนอยู่ในหุบเขาซึ่งเสมือนกำแพงธรรมชาติกั้นการผสมผสานกับวัฒนธรรมเมือง
-
ชุมชนริมน้ำมูล ชุมชนที่มีทุนทางสังคมเป็นทรัพยากรทางธรรมชาติ หาสัตว์น้ำเพื่อการยังชีพ สู่อาชีพเลี้ยงปลาในกระชัง
-
ชุมชนบ้านบางลำพู เป็นชุมชนที่สมาชิกชุมชนให้ความสำคัญกับป่าจาก เพราะเป็นไม้สำคัญทางเศรษฐกิจของชุมชน ดังนั้นจึงมีการจัดการท่องเที่ยวชมป่าจาก ดังคำขวัญ พาสาว เที่ยวคลองลำพู แลหิ่งห้อย
-
หมู่บ้านที่มีบึงน้ำเป็นแนวยาวตลอดทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน อีกทั้งมีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมภาคอีสานและภาคกลาง อาทิ การบวงสรวงดวงวิญญาณเจ้าพ่อศรีเทพ งานบุญผะเหวด
-
ลักษณะพื้นที่เป็นรูปวงกลมล้อมรอบหมู่บ้าน มีป่าทึบล้อมรอบด้วยพรรณไม้นานาชนิด และแหล่งน้ำธรรมชาติสำหรับใช้ในภาคการเกษตร
-
ผู้คนยังคงยึดอาชีพทำนา ทำไร่ การแสดงออกทางวัฒนธรรรมจึงอิงอยู่กับวิถีชีวิต อย่างประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว สีข้าว และการเอาแรงงานบุญต่าง ๆ
-
หมู่บ้านที่แยกตัวออกมาจากบ้านนาตะกรุด หมู่ 1 ลักษณะเป็นพื้นที่ราบสลับกับเนินเขา อยู่ห่างจากอำเภอศรีเทพไม่มากนัก
-
กระบวนการชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มีหาดทรายทุ่งนุ้ย ป่าชายเลน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ของท้องถิ่น
-
วัดท่ามะปรางค์ที่อยู่คู่ชุมชนมานานกว่า 100 ปี, หลวงพ่อใหญ่, ภูเขารูปช้าง และมีพื้นทีติดต่อกับอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
-