-
หนองผือคำ ดินน้ำใส ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ชาวบ้านสามัคคี มากมีวัฒนธรรม นำไปสู่แหล่งท่องเที่ยว
-
ชาวผู้ไทบ้านน้อมเกล้ามีพิธีกรรมการรักษาโรคประจำกลุ่มชาติพันธุ์ คือ “พิธีกรรมเหยา” ซึ่งถือเป็นสัญญะทางมโนทัศน์ที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อดั้งเดิมของชาวผู้ไท
-
ชุมชนริมน้ำมูล ชุมชนที่มีทุนทางสังคมเป็นทรัพยากรทางธรรมชาติ หาสัตว์น้ำเพื่อการยังชีพ สู่อาชีพเลี้ยงปลาในกระชัง
-
ชุมชนเกษตรกรรมที่อาศัยอยุ่ใกล้กับอ่างเก็บน้ำแก่งเลิงจาน ชุมชนที่มีวิถีชีวิตเรียบง่ายแบบชนบท มีโบราณสถานที่อาจไม่มีรูปแบบชัดเจนแต่มีเรื่องราวและซากหลงเหลืออยู่บ้าง
-
หมู่บ้านที่แยกตัวออกมาจากบ้านบุเปือย เป็นที่ราบสูงสลับกับเนินเตี้ย สภาพดินเป็นดินแดงภูเขาไฟ เหมาะแก่การปลูกพืชทุกชนิด ส่วนวัฒนธรรมในระยะแรกได้รับอิทธิพลจากชาวกูย ก่อนภายหลังได้รับอิทธิพลจากชาวไทยเชื้อสายลาวเข้ามาผสมผสาน และได้กลายเป็นวัฒนธรรมหลักของชุมชนในที่สุด
-
ชุมชนบ้านหนองตื่นเป็นชุมชนที่การตั้งบ้านเรือนตามรูปแบบของคนอีสาน หมู่บ้านแห่งนี้ยังเป็นสนามวิจัยของนักวิชาการคนดังเช่น ชาร์ล เอฟ คายส์
-
ธรรมาสน์เสาเดียว ศาสนวัตถุเชิงสัญลักษณ์ที่มีบทบาทสำคัญในการประกอบประเพณีและพิธีกรรมทางศาสนาของชาวบ้าน และมรดกภูมิปัญญาของชาวผู้ไท
-
ประเพณีพิธีกรรมอันเนื่องเกี่ยวกับความตายของคนเขมรถิ่นไทย กับการเล่นตุ้มโมงที่เป็นดนตรีชั้นสูงของชาวบ้านปอยตะแบง
-
การอยู่รวมกันของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวบน ไทยลาว และไทยโคราช ซึ่งมีความต่างกันด้านภาษา การแต่งกาย คติความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ทำให้บ้านน้ำลาดเกิดการแบ่งแยกคุ้มบ้านออกเป็น 3 คุ้มคือ คุ้มน้ำลาด คุ้มซับหงส์ และคุ้มซับเจริญ
-
ชุมชนบ้านท่าล้ง มีการจักรสานเป็นงานฝีมือที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานของชาวบรูบ้านท่าล้ง ซึ่งนอกจากอาชีพทำไร่ทำนาแล้ว อาชีพจักรสานก็เป็นหนึ่งอาชีพที่สร้างรายได้ในชาวบ้าน