-
หมู่บ้านเล็ก ๆ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าน้ำยาวและป่าน้ำสวด ชุมชนชาวลัวะที่ยังคงมีการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมดังเช่นการ "ตีพิ" ประเพณีการเรียกขวัญข้าวออกจากไร่เพื่อนำไปเก็บยังยุ้งฉาง ซึ่งสะท้อนถึงความสำคัญของการทำเกษตรกรรมที่เกี่ยวโยงสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชาวลัวะบ้านน้ำมีดมาอย่างยาวนาน
-
บ้านโป่งคำ ชุมชนเก่าแก่ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวพวนที่อพยพย้ายถิ่นฐานมากจากประเทศลาว การเข้ามาของผู้คน วิถีชีวิต และวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น
-
“งดงามวิหารไทลื้อ ลือชื่อผ้าทอสีธรรมชาติ น้ำใสสะอาดวังปาล ผืนป่าเขียวขจี ยึดวิถีวัฒนธรรมไทลือ” ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดน่าน กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประเพณี และการปรับตัวให้เข้ากับสังคมในโลกยุคปัจจุบัน
-
การย้ายถิ่นฐานเข้ามาตั้งบ้านเรือนในพื้นที่ประวัติศาสตร์เก่าแก่ของเมืองเชียงใหม่ มีสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติกับพัฒนาการชุมชนและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
บ้านมืดหลอง ชุมชนชาวลัวะเก่าแก่ในหุบเขาสูงทางทิศตะวันตกของอำเภอแม่แจ่มกับวิถีชีวิตอันเรียบง่ายที่ดำรงอยู่ท่ามกลางการห้อมล้อมด้วยภูเขาสูงและทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์
-
-
ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะบนพื้นที่ภูเขาสูง และมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ พื้นที่ศูนย์การเรียนรู้ชาวไทยภูเขา แม่ฟ้าหลวง กับวิถีชีวิตท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
ชุมชนพหุวัฒนธรรม ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน กับวิถีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และพื้นที่ทางธรรมชาติที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
-
บ้านพลั่งแท ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์กับการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และวิถีชีวิตวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์
-
การแต่งกายของชาวโส้ ภาษามอญ-เขมร พิธีวันตรุษโส้ เจดีย์บรรจุธาตุของอาจารย์กัณหาอาญาผ้าดำ (เจ้าปู่ผ้าดำ) รอยพุทธบาท วัดพระพุทธบาท สะพานแขวนอนุรักษ์
-